บทความ/เอกสารวิชาการ

“ลำพูน” เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง

5 ส.ค. 2562
1

“ลำพูน” เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง

         จากการนำองค์การเพื่อนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ “เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง” โดยอาศัยหลักการนำ 4P: Proactive Participation Performance People-Need และหลักคิดการทำงาน ” ศึกษาจนเข้าใจ รักจนเข้าถึง สามัคคีจนเกิดการพัฒนา” ผ่านการสื่อสารถ่ายทอด สร้างความเข้าใจ และความสัมพันธ์อันดีกับทุกภาคส่วนตามความเหมาะสม เช่น สภากาแฟ ปะป้อเมืองอู้เรื่องหละปูน ผู้ว่าพาทำบุญวันพระ เพื่อสร้างความยั่งยืนในการพัฒนาจังหวัดลำพูน ผ่านฟันเฟืองกลไกประชารัฐ โดยมีส่วนราชการเป็นผู้สนับสนุนการขับเคลื่อนของภาคเอกชนและภาคประชาชน ด้วยการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมภายนอกที่จะส่งผลกระทบต่อจังหวัดลำพูน

         จนนำไปสู่การกำหนดแผนการขับเคลื่อนในอนาคต “ลำพูน The Next Gen” ส่งผลให้เกิดการสร้างความสามารถในการแข่งขันจากขีดสมรรถนะและความเข้มแข็งของจังหวัด จนเกิดเป็นผลลัพธ์ที่สำคัญ เช่น

         (1) การกำหนดนโยบายจังหวัดสะอาด โดยการการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางและนำไปใช้ประโยชน์ จนเกิดเป็น แหล่งเรียนรู้ให้กับพื้นที่อื่น ๆ

         (2) การแก้ปัญหาไฟป่า และหมอกควัน การกำหนดระยะเวลา “ห้ามเผา” และการอาศัยประโยชน์ระบบเทคโนโลยี MODIS และ VIIRS

         (3) การแก้ไขปัญหาราคาลำไย โดยการสร้างความรู้ในการบริหารจัดการผลผลิตทั้งในและนอกฤดูในสัดส่วน 50:50 การรวมกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ และการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า และความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร

         (4) การพัฒนานวัตกรรมสินค้าหัตถกรรมท้องถิ่น โดยให้องค์ความรู้ การใช้เทคโนโลยีนาโน มายกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ในขั้นตอนการผลิต การใช้วัสดุรีไซเคิล และการรวมกลุ่ม Cluster ผ้าทอ Eco ลำพูน

Facebook : บทความ “ลำพูน” เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุ้กกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ปุ่มตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ สำนักงาน ก.พ.ร. เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการในสาระสำคัญของ สำนักงาน ก.พ.ร. ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ก.พ.ร. ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ก.พ.ร. รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ก.พ.ร. ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ก.พ.ร. ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

  • คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ก.พ.ร. ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ก.พ.ร. แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

บันทึกการตั้งค่า